YoVDO

กล้วยไม้วิทยา | Orchidology

Offered By: Chiang Mai University via ThaiMOOC

Tags

Humanities Courses Horticulture Courses

Course Description

Overview

รายวิชานี้ได้ปรับเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย (Self-Paced Learning) เกี่ยวกับรายวิชา ความสำคัญของกล้วยไม้ ลักษณะเด่น การเขียนชื่อกล้วยไม้ตามหลักสากล การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต การทำโรงเรือน การขยายพันธุ์กล้วยไม้แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ กล้วยไม้ชนิดต่างๆ ที่พบเห็นได้ในประเทศไทย การผลิตกล้วยไม้เชิงการค้า หลักการปรับปรุงพันธุ์และคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ และวิธีการตัดสินกล้วยไม้ จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 10 ชั่วโมงเรียนรู้ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 3 ชั่วโมง 30 นาที) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : ผู้เรียนสามารถ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกล้วยไม้ชนิดต่างๆ 2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ 3. มีความรู้พื้นฐานในการทำธุรกิจเกี่ยวกับกล้วยไม้ 4. ผ่านการประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละบทเรียนได้ คุณสมบัติผู้เรียน จบการศึกษาระดับปีมัธยมศึกษาปีที่ 6 สายวิทย์หรือวิทย์-คณิตขึ้นไป เกณฑ์การวัดผลและประเมินผลในรายวิชา เข้าร่วมครบทุก Unit และทำแบบทดสอบหลังเรียนผ่าน 60 % รายวิชานี้ไม่มีการออกประกาศนียบัตรผ่านระบบ ผู้สอนประจำรายวิชา รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐา โพธาภรณ์ Assoc. Prof. Dr. Nuttha Potapohn คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ E-mail: [email protected] CREATIVE COMMON สัญญาอนุญาตสิทธิ์รายวิชาและสื่อการสอนของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่นี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org) และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons 4.0 (นานาชาติ) ด้วยเงื่อนไข CC-BY-NC-SA (This work by Chiang Mai University, as a part of Thai MOOC (thaimooc.org) project and is licensed under a Creative Commons Attribution-Non Commercial-Share Alike 4.0 International License.).

Tags

Related Courses

Principles of Hemp Cultivation
Doane University via edX
The World of Plants: Exploring Horticulture
Longwood Gardens via Desire2Learn
Explore How Farmers Produce Food Sustainably
EIT Food via FutureLearn
How to Grow Healthy Plants
BBC via FutureLearn
Invernaderos de Almería. Un oasis tecnológico en el desierto
Universidad de Almería via Miríadax