พื้นที่จุดประกาย | Start Up Space
Offered By: Sukhothai Thammathirat Open University via ThaiMOOC
Course Description
Overview
รายวิชาเรียนตามอัธยาศัย รายวิชานี้ได้ปรับรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนเป็น "การเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย (Self-Paced)" .tg {border-collapse:collapse;border-spacing:0; width:100%; } .tg td{font-family:Arial, sans-serif;font-size:14px;padding:10px 5px;border-style:solid;border-width:1px;overflow:hidden;word-break:normal;} .tg th{font-family:Arial, sans-serif;font-size:14px;font-weight:normal;padding:10px 5px;border-style:solid;border-width:1px;overflow:hidden;word-break:normal;} .tg .tg-87ym{background-color:#19679c; color:#ffffff;vertical-align:top; width:30%; border: 1px solid #ffffff;} .tg .tg-yw4l{vertical-align:top; border: 1px solid #19679c;} .tg .tg-adge{background-color:#19679c;color:#ffffff;vertical-align:top; } .tg .tg-wqgq{vertical-align:top; border: 1px solid #19679c;} จำนวนชั่วโมงเรียน/จำนวนหน่วยกิต: 15 ชั่วโมง(จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 5 ชั่วโมง 15 นาที) จำนวนชั่วโมงที่ต้องใช้ในการเรียนรู้ต่อสัปดาห์/หรือต่อครั้ง: 3-4 ชั่วโมง ระดับของเนื้อหารายวิชา: เนื้อหาเรียนตามอัธยาศัย ประเภทของการเรียนในรายวิชา : เรียนด้วยตนเอง ระดับความยากของเนื้อหารายวิชา : เบื้องต้น กลุ่มเป้าหมายของรายวิชา: ผู้นำชุมชนหรือบุคคลทั่วไปที่สนใจสร้างศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์การให้บริการในชุมชน แนะนำรายวิชา รายวิชาพื้นที่จุดประกาย (Start up Space) เน้นการเรียนรู้การสร้างพื้นที่ทำงานร่วมกันในระดับชุมชน หรือในปัจจุบันเรียกกันว่า Co-Working Space เป็นการสร้างพื้นที่ที่มีความหลากหลาย เกิดความยืดหยุ่นในการทำงานร่วมกัน ซึ่งส่วนใหญ่การจัดตั้ง Co-Working Space จะเกิดขึ้นภายในเมืองใหญ่หรือพื้นที่ในย้ายธุรกิจ จึงทำให้แนวทางการทำ Co-Working Space ในเมืองประสบความสำเร็จ และด้วยแนวทางการพัฒนาที่ประสบความสำเร็จบวกกับความต้องการของชุมชนที่มีพื้นที่หรือศูนย์บริการชุมชนและมีความต้องการปรับปรุง พัฒนา พื้นที่ดังกล่าวให้มีความทันสมัย ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เพื่อให้คนในชุมชนเข้ามาใช้บริการ เกิดการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ การทำงานร่วมกันและการสร้างเครือข่ายระหว่างชุมชน รวมถึงเป็นการจุดประกายพื้นที่ในการสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ดังนั้นในรายวิชาพื้นที่จุดประกาย (Start up Space) จึงมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมให้การสร้างพื้นที่ให้เป็น Start up Space แนวทางการบริหารจัดการ การบริการ รวมถึงตัวอย่างการทำ Co-Working Space ทั้งในประเทศ ต่างประเทศ และในชุมชน ที่ประสบความสำเร็จ เป็นแนวทางในการพัฒนาพื้นที่ของตนเองและชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด คุณสมบัติผู้เรียน/ความรู้พื้นฐานที่ควรมีมาก่อน: ความรู้ ความเข้าใจในการจัดตั้งศูนย์ให้บริการและการเรียนรู้ระดับชุมชน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ LO1: ทราบถึงแนวทางการพัฒนาพื้นที่ให้บริการรูปแบบ Co-Working Space ในระดับชุมชน LO2: เข้าใจหลักการและรูปแบบการพัฒนาพื้นที่ให้บริการรูปแบบ Co-Working Space ระดับชุมชน LO3: สามารถนำหลักการและรูปแบบการพัฒนาพื้นที่ให้บริการไปใช้ประโยชน์กับพื้นที่ในชุมชนได้ LO4: เล็งเห็นความสำคัญของพื้นที่ในชุมชนและนำมาปรับเป็นพื้นที่การทำงานร่วมกันในชุมชนได้ LO5: นำแนวทางการพัฒนาพื้นที่ให้บริการมาใช้ประโยชน์กับชุมชนเพื่อกระจายรายได้และกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน รวมถึงต่อยอดสู่แนวทางการบริหารแบพึ่งพาต้นเอง นโยบายการวัดประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน การผ่าน/ไม่ผ่าน และใบประกาศนียบัตร ผู้เรียนได้รับประกาศนียบัตรอิเล็คทรอนิกส์ เมื่อผ่านเกณฑ์การประเมินรายวิชา พื้นที่จุดประกาย (Start up Space) และได้ผลการประเมินเกิน 60% ทีมผู้สอนและทีมผู้พัฒนารายวิชาออนไลน์ รศ.ดร.กมลรัฐ อินทรทัศน์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยการจัดการความรู้การสื่อสารและการพัฒนา (CCDKM) และเป็นที่ที่ปรึกษาของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน (ThaiTelecentre.org) นับตั้งแต่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2550 ภายใต้โครงการของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(MICT) นายพลเทพ เศรษฐีวรรณ ผู้ก่อตั้ง Launchpad ซึ่งเป็น Co-working space ยอดนิยมอีกแห่งหนึ่งที่เหมาะสำหรับคนทำงานฟรีแลนซ์ แหล่งรวมตัวของ Tech Startup นางสาวภัทฐิตา คงเพ็ชร์ | นักเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้พัฒนารายวิชาออนไลน์ "Start Up Space (พื้นที่จุดประกาย)" e-Mail: [email protected] DIRECTED BY Research Center of Communication and Development Knowledge Management (CCDKM)Sukhothai Thammathirat Open University (STOU) CREATED BY CCDKM STAFF | MR.NUTTASARUN SUEYUKOOL This work by The Research Center of Communication and Development Knowledge Management (CCDKM) is a part of Thai MOOC (thaimooc.org) project and is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License.
Tags
Related Courses
Designing Resilient SchoolsBuild Academy via iversity Arch403: Designing Resilient Schools
Build Academy via EdCast Designing Resilient Housing
Build Academy via EdCast u.lab: Leading Change in Times of Disruption
Massachusetts Institute of Technology via edX La SCIC, une coopérative au service des territoires
Centre national de la fonction publique territoriale via France Université Numerique